วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2552

วิธีระบบ ( หมวกไหมพรมถักมือ )

การประยุกต์ใช้วิธีระบบเพื่อปรับปรุงการเรียนรู้หรืองานต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน

Input

1. อุปกรณ์ มีดังนี้
- แม่พิมพ์ถักหมวกไหมพรม
- ด้ายไหมพรม
- ไม้เสียบลูกชิ้น
- เข็มทอง

- กรรไกร
2. ความรู้ที่จำเป็นต้องรู้ ได้มาจากการ
สอบถามผู้รู้
3. แหล่งที่มาของความรู้ คือ ผู้รู้
(นางสาวสุดารัตน์ นามบุญลือ)

Process
สัปดาห์ที่ 1 ศึกษาวิธีทำ และ ตัวอย่าง
สัปดาห์ที่ 2 ทดลองปฏิบัติจริง
สัปดาห์ที่ 3 คิดหาวิธีการทำให้ผลงาน
ออกมามีคุณภาพดีที่สุด
สัปดาห์ที่ 4 ปรับปรุงผลงานให้มีผลที่ดี
ที่สุด

Output
หมวกไหมพรมถักมือ


Feedback
ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลงานออกมาสวยงามและนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้

Input

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ มีดังนี้

1. แม่พิมพ์ถักหมวกไหมพรม











2. ด้ายไหมพรม











3. ไม้เสียบลูกชิ้น












4. เข็มทอง












5. กรรไกร













Process

สัปดาห์ที่ 1 ศึกษาวิธีทำและตัวอย่าง
ศึกษาวิธีการทำและตัวอย่างจากผู้รู้ โดยได้ศึกษาจากหมวกไหมพรมที่ผู้รู้ได้ทำขึ้นมา และสอบถามวิธีการทำวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการประดิษฐ์ รายละเอียด ข้อควรระวังในการทำหมวกไหมพรม

สัปดาห์ที่ 2 ทดลองปฏิบัติจริง
ทดลองปฏิบัติจริงโดยมีผู้รู้ (นางสาวสุดารัตน์ นามบุญลือ) คอยให้ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ แล้วลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจนสำเร็จ ดังขั้นตอนรายละเอียดต่อไปนี้

จากการปฏิบัติงานพบปัญหาต่าง ๆ ดังนี้
ปัญหาที่พบ
1. ด้ายไหมพรมหลุดออกจากแม่พิมพ์
2. การเก็บปลายด้ายยังไม่ละเอียด

ขั้นตอนในการทำ มีดังนี้
1. ใช้มือจับด้ายแนบชิดกับแม่พิมพ์












2. วนด้ายไปด้านซ้ายของแม่พิมพ์โดยสลับเสากัน













3. เมื่อวนด้ายครบรอบหนึ่งแล้วก็สลับด้านวนอีกรอบหนึ่ง













4. ใช้ไม้เสียบลูกชิ้นถักสลับกันไปมาจนได้ตามขนาดที่ต้องการ













5. เมื่อได้ขนาดที่ต้องการแล้วก็ทำการเก็บปลายด้ายด้านเดียว















6. ถอดหมวกที่ทำเสร็จแล้วออกจากแม่พิมพ์















7. เก็บปลายด้ายอีกด้านหนึ่งให้เรียบร้อย
















8. ได้หมวกที่เสร็จสมบูรณ์


















สัปดาห์ที่ 3 คิดหาวิธีการทำให้ผลงานออกมามีคุณภาพดีที่สุด
หลังจากที่พบปัญหา ผู้รู้ได้แนะนำ และหาวิธีการแก้ไขปัญหา ดังนี้
วิธีการแก้ปัญหา
1. ให้ใช้มือจับเส้นอยู่ตลอดเพื่อป้องกันเส้นด้ายหลุดออกจากแม่พิมพ์
2. เก็บปลายด้ายให้ละเอียดโดยการมัดให้แน่นเพื่อป้องกันการหลุดของเส้นด้าย
สัปดาห์ที่ 4 ปรับปรุงผลงานให้มีผลที่ดีที่สุด
จากการที่ได้ปฏิบัติงาน การผลิตหมวกไหมพรมถักด้วยมือได้มีข้อบกพร่องหลายด้าน และได้ปรับปรุงรายละเอียดของชิ้นงาน ให้มีขนาดที่เหมาะสมกับการใช้งานของแต่ละคน และเก็บรายละเอียด เพิ่มความคงทน ให้สามารถใช้งานได้จริงอย่างสมบูรณ์

Output

วัตถุประสงค์ของการทำงานในครั้งนี้ คือ หมวกไหมพรมถักมือ และมีผลการปฏิบัติดังนี้



























Feedback

ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ได้หมวกไหมพรมถักมือ ที่มีความสวยงาม และสามารถนำไปใช้ได้จริง
เราสามารถพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นได้โดยการปรับปรุงส่วนต่างๆจากข้อบกพร่อง ขั้นตอนต่างๆ เป็นไปตามขั้นตอน
สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ
จากการทำหมวกไหมพรมถักมือ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการนำวิธีระบบมาใช้กับสิ่งต่างๆในชีวิตประจำวันสิ่งที่ได้รับจากการปฏิบัติงานชิ้นนี้ คือ เป็นคนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงานชิ้นใหม่ สามารถนำผลงานไปประยุคต์ใช้ในการทำผลงานครั้งต่อไปได้

ไม่มีความคิดเห็น: